/
 The Child with Musculoskeletal Dysfunction  The Child with Musculoskeletal Dysfunction

The Child with Musculoskeletal Dysfunction - PowerPoint Presentation

pasty-toler
pasty-toler . @pasty-toler
Follow
361 views
Uploaded On 2020-04-10

The Child with Musculoskeletal Dysfunction - PPT Presentation

อนภสสรา ธ ระเนตร หวขอการเรยนการสอน 1 การประเมนอาการทางระบบประสาทในเดก ID: 776664

reflex sign form positive reflex sign form positive ataxia athetosis motor rigidity palsy cerebral

Share:

Link:

Embed:

Download Presentation from below link

Download Presentation The PPT/PDF document " The Child with Musculoskeletal Dysfunct..." is the property of its rightful owner. Permission is granted to download and print the materials on this web site for personal, non-commercial use only, and to display it on your personal computer provided you do not modify the materials and that you retain all copyright notices contained in the materials. By downloading content from our website, you accept the terms of this agreement.


Presentation Transcript

Slide1

The Child with Musculoskeletal Dysfunction

อ.นภิสสรา

ธี

ระเนตร

Slide2

หัวข้อการเรียนการสอน

1. การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก

2. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูก

สมองพิการ (

Cerebral Palsy)

3.

การพยาบาลเด็กโรคที่ต้องเข้าเฝือก

Slide3

วัตถุประสงค์ทั่วไป

1. อธิบายหลักและวิธีการประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทได้

2. อธิบายการพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกได้

3. นำองค์ความรู้ที่ได้ให้การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางกล้ามเนื้อกระดูกและครอบครัวได้

Slide4

การประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท

การประเมินด้านร่างกาย

ประวัติ

:

การคลอด การเจ็บป่วยหลังคลอด ทางอารมณ์ของครอบครัว การเลี้ยงดู

การตรวจร่างกาย

:

ลักษณะทั่วไป สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปากและฟัน

Slide5

การประเมินระบบประสาทและกล้ามเนื้อ

Muscle tone การตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ประเมินต้านต่อการเคลื่อนไหวที่ผู้ป่วยต้องออกแรง มีแรงต้านมากจนกล้ามเนื้อตึง (spasticity) แรงต้านลดลงกว่าปกติจนกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (flaccidity หรือ paralysis) ถ้ากล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอดีถือว่าปกติ (normal)

Slide6

Babinski’s sign

ทดสอบโดยใช้อุปกรณ์ปลายทู่ เช่นกุญแจ ด้ามปากกา ขีดริมฝ่าเท้าตั้งต้นที่ส้นเท้าถึงนิ้วเท้า ถ้าผลบวกจะพบนิ้วเท้ากางออก ถ้านิ้วหัวแม่เท้ากระดกขึ้นในเด็กอายุ 1-2 ปี ถือว่าปกติ ถ้าอายุเกิน 2 ปีได้ผลบวกแสดงว่ามี upper motor neurone lesion

Slide7

Brudzinski’s sign

ให้เด็กนอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะคางชิดอก ทำการทดสอบในเด็กที่มีการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้ ถ้ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้ว โดยคอแข็ง (stiff neck) และเด็กจะแสดงอาการเจ็บปวดโดยจะงอเข่าและสะโพกทันที ผลการตรวจจึงเป็น positive

Slide8

Kernig’s sign

ให้เด็กนอนหงายและงอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้างแล้วลองเหยียดขาข้างนั้นออก เด็กปกติจะสามารถยกขาตั้งฉากแล้วเหยียดเข่าตรงได้ แต่เด็กที่ติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองอักเสบจะทำไม่ได้เพราะมีอาการปวด ผลการตรวจจึงเป็น positive

Slide9

Tendon reflex

โดยใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น เคาะตรงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับข้อกระดูกแล้วสังเกตดู reflex ที่เกิดจากการยึดกล้ามเนื้อต่างๆ โดยใช้ค้อนเคาะเอ็นเคาะตรงเหนือข้อพับแขน เหนือข้อศอก ส่วนกล้ามเนื้อขา และกล้ามเนื้อน่อง ซึ่งต้องใช้ไม้เอ็นเคาะ เคาะตรงใต้กระดูกสะบ้า และตรงเอ็นร้อยหวาย ค่าปกติคือ 2+ ถ้า reflex เร็วคือได้ 4+ แสดงว่ามีความผิดปกติของระบบประสาท

Slide10

การประเมินระดับการรู้สติ

ระดับการรู้สติ (Concious)มี 5 ระดับAwake and alertDrowsy Stuporous Semi comacoma

Slide11

Glasgow coma scale*

Slide12

Cerebral Palsy (CP)

หมายถึง ความบกพร่องของสมองส่วนที่ใช้ควบคุมกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทาง การทรงตัว การเคลื่อนไหว (motor disorders) ไม่จัดว่าเป็นโรค

Slide13

สาเหตุ

Slide14

อาการและอาการแสดง

-

Spastic

กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนกำลังและแข็งตึงได้มาก

-Ataxia form

ความสมดุลในการทรงตัวเสียไป

-

Athetosis

มีการสั่นของกล้ามเนื้อ เคลื่อนไหวโดยไม่ตั้งใจ

-Tremor

มีอาการสั่นติดต่อกันและเป็นทั้งตัว

-Rigidity

มีอาการเกร็งของแขนขาจะต้านแรงเมื่องอหรือเหยียด

-Mixed form

คือมีอาการแสดงหลาย ๆ อย่าง

รวมกัน

Slide15

Rigidity

Athetosis

Ataxia form

Slide16

อาการและอาการแสดง (ต่อ)

Slide17

การพยาบาล

การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง

1.

ดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวของร่างกายที่บกพร่อง โดยการกระตุ้นให้เด็กนั่ง คลาน เดิน ตามวัยของเด็ก

2. จัดหาของเล่นที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหว นำของเล่นที่เขย่ามีเสียงไพเราะ

3. ช่วยเด็กในการใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆ เช่นอุปกรณ์ช่วยเดินสำหรับเด็กที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เสริม

4. ส่งเด็กไปทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันความพิการอื่นๆ

5. ให้ยาคลายกล้ามเนื้อในเด็กที่มีอาการ

Slide18

การพยาบาล (ต่อ)

พร่องการดูแลตนเอง

1.

กระตุ้นให้เด็กดูแลตนเองตามความสามารถ ถ้าเด็กทำไม่ได้ต้องช่วยเหลือให้เกิดความสุขสบาย

2. ระวังการเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ ในเด็กที่มีน้ำลายหรือเสมหะมาก

3. ช่วยเหลือเด็กในการรับประทานอาหาร จัดอาหารที่มีแคลอรีสูงให้พอเพียง

4. แนะนำเรื่องการฝึกการขับถ่ายโดยใช้วิธีที่แตกต่างกันตามความสามารถของเด็ก

Slide19

การพยาบาล (ต่อ)

พัฒนาการช้ากว่าวัย

1

. ส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านโดยใช้ของเล่นหรือกิจกรรมที่ให้เด็กได้และมีส่วนร่วมมากที่สุดตามความสามารถชองเด็ก

2. แนะนำบิดามารดา ญาติ หรือผู้ดูแลเด็กในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

3. ติดตามและประเมินพัฒนาการเป็นระยะๆ

Slide20